Take a fresh look at your lifestyle.

บี.เอฟ.สกินเนอร์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ

บี.เอฟ.สกินเนอร์ มีความคิดว่าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคนั้นจำกัดอยู่กับพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเป็นจำนวนน้อยของมนุษย์พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเองไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้าเก่า

สกินเนอร์ ได้เสนอความคิดโดยจำแนกทฤษฎีทางพฤติกรรมออกเป็น  2 ประเภท คือ

  1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบType S

     -มีสิ่งเร้าเป็นตัวกำหนดหรือดึงออกมา

  1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบType R

    -พฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับการเสริมแรง

ประวัติ บี.เอฟ.สกินเนอร์

– เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ.1940 ที่ มลรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา

-จบปริญญาตรี ทางวรรณคดี ในอังกฤษ

-เข้าศึกษาต่อสาขาจิตวิทยา ระดับปริญญาโทและเอก ณ มหาวิทยาลัย ฮาร์ดเวิร์ด ปี ค.ศ.1982 วิชาเอกพฤติกรรมศาสตร์

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ มีชื่อเรียกต่างๆ คือ

– Operant Conditioning theory

– Instrumental Conditioning theory

– Type-R. Conditioning

การเสริมแรง(Reinforcement)

            คือ การทำให้ผู้ทำพฤติกรรมเกิดความพึงพอใจเมื่อทำพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งแล้ว เพื่อให้ทำพฤติกรรมนั้นซ้ำๆการเสริมแรงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1.การเสริมแรงทางบวก(Positive Reinforcement )

2.การเสริมแรงทางลบ(Negative Reinforcement)

การเสริมแรงแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.การเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง(Continuous Reinforcement)

2.การเสริมแรงเป็นครั้งคราว(IntermittentReinforcement)

การกำหนดการเสริมแรงตามเวลา(Iinterval schedule)

1.กำหนดเวลาที่แน่นอน(Fixed Interval Schedules )

 

2.กำหนดเวลาที่ไม่แน่นอน(Variable Interval Schedules )

สกินเนอร์ (B.F. Skinner) ได้กำหนดการวางเงื่อนไขการกระทำ ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้กันมากในปัจจุบัน โดยวิธีการวางเงื่อนไขจะใช้การเสริมแรง โดยทดลองกับสัตว์ในห้องปฏิบัติการและค้นคว้าจนพบว่าใช้ได้ดีกับมนุษย์

หลักการวางเงื่อนไขผลกรรม (Operant Conditioning) มีแนวคิดว่า การกระทำใด ๆ (Operant)ย่อมก่อให้เกิดผลกรรม (Consequence หรือ Effect)

บี.เอฟ.สกินเนอร์
การเรียนรู้เงื่อนไขผลกรรมนี้ต้องการให้เกิดพฤติกรรมโดยใช้ผลกรรมเป็นตัวควบคุม

บี.เอฟ.สกินเนอร์
การเรียนรู้เงื่อนไขผลกรรมนี้ต้องการให้เกิดพฤติกรรมโดยใช้ผลกรรมเป็นตัวควบคุม ผลกรรมที่เกิดขึ้น

– ถ้าเป็นผลกรรมที่ต้องการ เป็นผลกรรมเชิงบวก เรียก การเสริมแรง

– ถ้าเป็นผลกรรมที่ไม่ต้องการ เป็นผลกรรมเชิงลบ เรียกว่า การลงโทษ

การเสริมแรง
หมายถึง การทำให้มีพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเนื่องจากผลกรรม ได้แก่

– เสริมแรงทางบวก เช่น ทำงานเสร็จแล้วแม่ให้ถูโทรทัศน์

– เสริมแรงทางเชิงลบ เช่น การขึ้นสะพานลอยเพื่อพ้นจากการถูกจับ

การลงโทษ
หมายถึง การให้ผลกรรมที่ไม่ต้องการ หรือ ถอดถอนสิ่งที่ต้องการแล้วทำให้พฤติกรรมลดลง ได้แก่

– การลงโทษทางบวก เช่น เด็กส่งเสียงดัง แล้วถูกดุ

–  การลงโทษทางลบ เช่น ทำการบ้านไม่เสร็จแล้วแม่ไม่ให้ไปเล่นเกมส์

ความเห็นถูกปิด

QR Code Generator | สร้างรหัส QR ของคุณได้ฟรี - สร้าง QR Code ออนไลน์อย่างง่ายและฟรี